การเข้ารหัสด้วยคำสั่ง gpg

June 16th, 2020

ตามหัวเพจ บางครั้งข้อมูลใน file มีความสำคัญไม่อยากให้ใครรู้ ก็ต้องมีการเข้ารหัส ด้วยคำสั้ง gpg และยังสามารถเอา key ไปใช้บน github gitlab ได้อีกด้วย เพื่อที่เวลา pull code จะได้ไม่ต้องคอย key user และ password ทุกครั้ง

เช็คว่ามี key หรือยังใช้ command

$ gpg –list-keys –keyid-format LONG

ถ้ายังไม่มี ให้สร้าง key โดยใช้คำสั่ง

$ gpg –full-generate-key (Full) or gpg –gen-key (Short)

หลังจากสร้าง key เสร็จแล้วก็จะสามารถ เข้ารหัส(encrypt) หรือถอดรหัส(decrypt) ได้แล้ว

การเข้ารหัส(encrypt) โดยการใช้คำสั่ง

$ gpg –output file01.zip.tagg –encrypt –recipient chotsiri@gmail.com file01.zip

–output ไฟล์ที่เข้ารหัส
–encrypt option เพื่อเข้ารหัส
–recipient email ที่เราได้ใส่ไปตอนสร้าง key
file01.zip คือไฟล์ที่ต้องการเข้ารหัส

การถอดรหัส(decrypt) โดยใส่คำสั่ง

$ gpg –batch –output file01.zip –passphrase 12345 –always-trust –decrypt file01.zip.tagg

–batch ให้เป็น batch mode
–output ไฟล์ที่เราถอดรหัส
–decrypt option เพื่อถอดรหัส
file01.zip.tagg ไฟล์ที่ต้องการถอดรหัส

แต่ถ้าถอดรหัสแล้วมีหน้าต่างขึ้นมาถามหารหัส ให้เพิ่ม option –pinentry-mode=loopback เข้าไป

gpg --batch --yes --output out/file.zip --passphrase JBv5UDzJ --pinentry-mode=loopback --decrypt file.zip.pgp

ลบ key ออกจากเครื่อง

ลบ key
# gpg –delete-key keyID1 keyID2 keyID3

การ export key

export private key

$ gpg –export-secret-keys taggkey > taggkey-private.asc

taggkey : key

export public key

$ gpg –armor –export taggkey > taggkey-public.asc

taggkey : key

การ import key

import private key

$ gpg –import taggkey-private.asc

taggkey-private.asc : ไฟล์ที่ export

import public key

$ gpg –import taggkey-public.asc

taggkey-public.asc : ไฟล์ที่ export

ทั้งหมดนี้ ผมได้เขียนและทดสอบบน Ubuntu 18.04.4 LTS ซึ่งเป็น sub system Windows

Ref: GPG

Windows Kill Process PORT Number

August 27th, 2019

เปิด Command Prompt ขึ้นมา

ขั้นที่ 1 หา port โดยใช้ command netstat และ findstr เพื่อหา port ที่เราต้องการอีกที

1
2
3
C:\
C:\netstat -ano | findstr :[port]
C:\
รูปที่ 1

ขั้นที่ 2 เมื่อได้ port มาแล้ว ก็ kill มันซะ โดยใช้ command taskkill

1
2
3
C:\
C:\taskkill /PID 20196 /F
C:\
รูปที่ 2

จะเห็นว่าในรูปที่ 2 ลองใช้ command เช็คดูอีกที่ port จะหายไปแล้ว

ubuntu subsystem windows 10 : Changing mount point from /mnt/c to /c, /mnt/d to /d

July 24th, 2019

วิธีทำไม่ยาก ตามนี้เลยครับ

จะพิมพ์ /mnt/c หรือ /mnt/d มันดูยุ่งยาก และการใช้งาน เลย mount ให้มันเป็น /c /d ซะเลย ขั้นที่ 1 สร้างไฟล์ wsl.conf โดยที่ไม่ต้องลง wsl command ก็ได้
sudo vi /etc/wsl.conf
ขั้นที่ 2 ให้ automount โดยให้ drive c d มาเริ่มที่ตำแหน่งต่อจาก root
# Now make it look like this and save the file when you're done:
[automount]
root = /
options = "metadata"
ขั้นตอนที่ 3 Restart หรือ log out ออก